Facts About ไตรโคเดอร์ม่า Revealed

ร่าง เกณฑ์การพิจารณาและแบบฟอร์มงานวิจัยดีเด่น

เราสามารถนำหลักการของสามเหลี่ยมโรคพืชมาใช้ในการจัดการหรือการควบคุม ไม่ให้พืชเป็นโรค โดยการควบคุมทั้ง ๓ ปัจจัย ได้แก่ ควบคุมไม่ให้มีสาเหตุของโรคพืช ควบคุมไม่ให้พืชอ่อนแอ และควบคุมสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะกับการเกิดโรค การควบคุมโรคมีหลายวิธี อาจใช้วิธีเดียวหรือหลายวิธีร่วมกันก็ได้ หากใช้หลายวิธีร่วมกันเรียกว่า การควบคุมโดยวิธีผสมผสาน ซึ่งเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากช่วยลดต้นทุนการผลิตแล้วยังช่วยเพิ่มความปลอดภัยมากยิ่งขึ้นด้วย 

หมายถึง การป้องกันการเข้าทำลายพืชของเชื้อโรค โดยไม่ให้เชื้อโรคสัมผัสกับพืชด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การปลูกพืชกันลม เป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคที่อาศัยลมเป็นตัวนำมาสู่พืช การปลูกพืชในโรงเรือนกระจก หรือโรงเรือนตาข่ายกันแมลง เพื่อควบคุมสภาพแวดล้อม ป้องกันเชื้อโรคหรือแมลงพาหะไปสัมผัสกับพืช หรือการใช้สารเคมีในการป้องกันการเข้าทำลาย ของเชื้อโรค เช่น การใช้สารเคมีคลุกเมล็ดพืชที่จะปลูก กำจัดโรคพืช และการใช้สารเคมีทำลายเชื้อโรคในดินก่อนปลูกพืช

        - สามารถฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ เช่น เชื้อราไตรโดเดอร์มา เพื่อป้องกันกำจัดหรือเมื่อพบโรคในแปลง

คลังผลงานวิจัย รายงานผลงานวิจัยประจำปี

ใช้เมล็ดและกล้าที่ปราศจากโรคปลูก การแช่นํ้าร้อนอาจได้ผลดีในการกำจัดเชื้อที่ติดมากับเมล็ด

การเผาต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรค เพื่อเป็นการทำลายแหล่งสะสมเชื้อโรค

กำจัดวัชพืช และพืชอาศัยของเชื้อไวรัส

When you are working with an out-of-date browser version or unsupported browser Edition, you might not practical experience the whole impact when viewing the internet site. Crop security Thailand

สื่อประชาสัมพันธ์ ดิจิตอลไซแน๊กซ์ (แบนเนอร์สื่อสารภายในองค์กร)

         - วัสดุปลูกและแปลงปลูกควรสะอาด มีการระบายน้ำที่ดี อาจปรับสภาพดินในแปลงด้วยปูนขาว หรือใส่ปุ๋ยอินทรีย์และเชื้อราไตรโคเดอร์มาในดินก่อนปลูก

Q: จำนวนสปอร์ชีวภัณฑ์แบบผงกับแบบสดแบบไหนมีประสิทธิภาพมากกว่ากัน

การอบรมการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของผลงานวิจัย สกสว.

วิธีป้องกันโรคพืช ปกป้องผลผลิตให้ปลอดภัยจากโรค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

Comments on “Facts About ไตรโคเดอร์ม่า Revealed”

Leave a Reply

Gravatar